ตระกูลแก้วบุญทอง

คนโต พีงรง พี่ระ พี่ไพร พี่พึง พี่พร ภา หลอ ไพร

ปืดแต่งงานกับ พี่พึงแก้วบุญทอง

ลูกชายคนโต โป้ง

ปลาลูกสาวคนที่สอง

ลูกสาวคนสุท้องเบีย

 

 

อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล จันทบุรี

ถ้ามีโอกาสได้มาเที่ยวเมืองจันทบุรี สถานที่ท่องเที่ยวที่ไม่ควรพลาดก็คือ โบสถ์คาทอลิกจันทบุรี หรือ อาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล เป็นโบสถ์คริสต์คาทอลิกเก่าแก่ที่มีความสวยงามมาก ถือว่าเป็น Unseen แห่งหนึ่งของเมืองจันทบุรีเลย ที่ตั้งของโบสถ์นี้อยู่ในตัวเมืองจันทบุรี บริเวณชุมชนริมน้ำจันทบูร

ที่มาของการสร้างโบสถ์แห่งนี้เริ่มจากชาวคาทอลิกเวียดนามจำนวน 120-130 คน ที่อพยพหนีการเบียดเบียนทางศาสนาในโคชิน มาตั้งรกรากอยู่ที่จันทบุรี และได้ร่วมมือกับคุณพ่อเฮิ้ต โตแลนติโน สร้างโบสถ์ไว้เป็นศาสนสถาน โบสถ์สร้างขึ้นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2254 บนฝั่งตะวันตกของแม่น้ำจันทบุรี เป็นโบสถ์ขนาดเล็ก ต่อมามีความวุ่นวายเกิดขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา ชาวคริสต์คาทอลิกแยกย้ายกระจัดกระจายกันไป จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2295 ชาวคริสต์คาทอลิกก็ได้กลับมารวมตัวกันใหม่ และได้สร้างโบสถ์ใหม่บนฝั่งตะวันออกของแม่น้ำจันทบุรี (สถานที่ตั้งในปัจจุบัน) ในปี พ.ศ. 2377

ในปี พ.ศ. 2446 ได้ก่อสร้างโบสถ์หลังปัจจุบันขึ้น (โบสถ์หลังที่ 5) ให้มีขนาดใหญ่กว่าหลังเก่าเพื่อรองรับกับจำนวนคริสตศาสนิกชนที่เพิ่มมากขึ้น โดยมีลักษณะเป็นสถาปัตยกรรมตะวันตกแบบโกธิค ภายในตกแต่งด้วยกระจกสีที่เรียกว่า สเตนกลาส เป็นภาพนักบุญต่างๆ ซึ่งมีความงดงามและมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์เป็นอย่างยิ่ง หลังจากนั้นได้มีการบูรณะซ่อมแซมมาโดยตลอด จนถึงปี พ.ศ. 2528 ได้มีการจัดงานฉลองโบสถ์คาทอลิกจันทบุรีครบรอบ 75 ปี ขึ้นในปีดังกล่าวด้วย นับได้ว่าโบสถ์คาทอลิกแห่งนี้เป็นโบสถ์ขนาดใหญ่ที่มีความเก่าแก่และกล่าวกันว่ามีความงดงามมากที่สุดในประเทศไทย

เนื่องจากว่าที่ตั้งของอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล อยู่ในชุมชนริมน้ำจันทบูร แนะนำว่าให้จัดโปรแกรมเดินเที่ยวตั้งแต่ถนนสุขาภิบาล แล้วค่อยเดินข้ามฝั่งแม่น้ำจันทบุรีมายังอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล ระหว่างทางมีตึกเก่าให้ชม

ช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการมาถ่ายรูปจะเป็นช่วงบ่าย เนื่องจากว่าไม่ย้อนแสง ถ่ายรูปออกมาแล้วเห็นรายละเอียดสวย ในช่วงบ่ายโบสถ์จะเปิดให้นักท่องเที่ยวเข้าชมภายในได้ในเวลา 13.00 – 16.30 น. ยกเว้นว่าวันไหนมีพิธีแต่งงานก็งดเข้าชม ส่วนด้านนอกสามารถถ่ายรูปได้ตลอดเวลา

ยอดโดมปลายแหลมอาสนวิหารฯ เคยถูกถอดออกเมื่อสมัยพิพาทอินโดจีน พ.ศ.2483 เพื่อไม่ให้เป็นเป้าหมายในการโจมตีทางอากาศ และได้นำยอดโดมมาใส่อีกครั้งในปี พ.ศ.2552 เนื่องในโอกาสฉลองอาสนวิหารพระนางมารีอาปฏิสนธินิรมล 100 ปี

อนุสาวรีย์พระนางมารีอา หรือ พระแม่มารีย์ พระมารดาของพระเยซูในศาสนาคริสต์

ที่ใต้โดมฝั่งขวาจะมีนาฬิกาโบราณอยู่ ติดตั้งในปี พ.ศ. 2452 เป็นนาฬิกาขนาดใหญ่ มีเส้นรอบวงถึง 4.7 เมตร สามารถมองเห็นได้ไกลระยะ 2 กิโลเมตร

ภายในอาสนวิหารฯ ตกแต่งสวยแบบโบสถ์ในยุโรป มีซุ้มโค้งตามเสา หลังคาสูง สลักลวดลายที่ฝาผนัง

รอบตัวโบสถ์ประดับด้วยกระจกสี “สเตนกลาส” เป็นรูปนักบุญ ให้แสงผ่านเข้ามาในตัวโบสถ์ได้ กระจกสีเหล่านี้เป็นของเก่าแก่ติดตั้งในปี พ.ศ. 2455 – 2457

กระจกสี “สเตนกลาส”

ส่วนที่สวยที่สุดของโบสถ์ด้านในจะเป็นบริเวณเวทีด้านหน้า ประดับด้วยรูปปั้นพระนางมารีอา นักบุญ และไม้กางเขน อันเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาคริสต์

แม่พระประดับพลอย ที่หน้าแท่น เป็นรูปปั้นพระแม่มารีย์ที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจมาก มีการประดับพลอยที่รูปปั้นถึง 2 แสนเม็ด 2 หมื่นกะรัต มูลค่ากว่า 10 ล้านบาท และยังประดับด้วยทองคำ เงิน ในส่วนต่างๆ ของชุด ที่ฐานด้านล่างจะเห็นแม่พระกำลังเหยียบงู อันหมายถึงมาร สิ่งชั่วร้ายทั้งหลาย

ขอขอบคุณข้อมูลบางส่วนจาก http://www.emagtravel.com/archive/chantraburi-church.html

 

ประวัติวัดบางขามหรือวัดนักบุญลูกา

บรรยากาศเก่า ๆ ของกลุ่มคริสตชน วัดนักบุญลูกา บางขาม ลพบุรี
กลุ่มคริสตชนที่บางขามส่วนใหญ่เป็นลูกหลานชาวญวณที่อพยพย้ายถิ่นมาจากบ้านแป้ง
เจ้าเจ็ด หน้าโคก สามเสน … คนญวณเหล่านี้มีลักษณะเด่นในการทำอาชีพประมง จับปลาเก่งมาก
จึงไม่แปลกเลยที่จะคั้งบ้านเรือนริมน้ำ … และนี่เป็นเรื่องราวของพวกเขาประวัติวัดนักบุญลูกา บางขาม ลพบุรี
“วัดบางขาม” ตามที่เราทราบนั้น คงเรียกกันตามสถานที่ตั้งมากกว่า เพราะตั้งอยู่ฝั่งแม่น้ำบางขาม ซึ่งเป็นแม่น้ำสายเล็กๆในจังหวัดลพบุรี จึงเรียกกันติดปากว่า “วัดบางขาม” ความเป็นจริงแล้ว วัดนักบุญลูกาหรือที่เรียกติดปากว่าวัดบางขามมิได้ตั้งอยู่ในตำบลบางขาม ตำบลบางขามกลับตั้งอยู่ตรงข้ามกับวัด (คนละฟากแม่น้ำ) ซึ่งมีอาณาเขตไปถึงตลาดบางขาม หรือตลาดท่าโขลง และมีวัดทางพุทธศาสนาอยู่ด้วย ชาวบ้านเรียกว่า วัดท่าโขลง ความจริงวัดดังกล่าวอยู่ในท้องที่ อำเภอท่าวุ้ง ห่างจากวัดนักบุญลูกา ประมาณ 6 กิโลเมตร แต่การไปมาในสมัยนั้น ต้องลงเรือที่ตลาดบางขาม ชาวคริสตังเมื่อจะไปวัดนักบุญลูกา ก็ต้องลงเรือที่นั่น ฉะนั้นจึงเกิดความคุ้นเคยกับ “บางขาม” ถ้าสำหรับคนท้องที่แล้ว ก็จะคิดว่าเป็นวัดทางพุทธศาสนาที่ตลาด ท่าโขลง ส่วนชาวบ้านละแวกวัดนักบุญลูกา บางขาม จะเรียกวัดของเราว่า “วัดชนไก่” เป็นทั้งชื่อวัดและหมู่บ้าน เชื่อกันว่าเป็นวัดทางพุทธศาสนาโบราณสมัยละโว้หรือสมัยทวารวดี มีเรื่องเล่าต่อ ๆ กันมาว่า วัดพุทธนี้ ถูกไฟไหม้ ชาวบ้านที่อยู่เดิมจึงอพยพไปที่อยู่ที่อื่น วัดจึงกลายเป็นวัดร้าง และในไม่นานมานี้จึงเปลี่ยนชื่อจากวัดชนไก่ มาเป็น หมู่บ้าน พระวรสาร จนถึงปัจจุบันนี้
ก่อร่าง – สร้างวัด
หลักฐานที่ยืนยัน ในเรื่องของการตั้งกลุ่มคริสตชนที่บางขามนั้น เริ่มตั้งแต่ สมัยที่คุณพ่อการ์ตอง เป็นเจ้าอาวาสวัดบ้านแป้ง ในปี ค.ศ. 1910 จากเอกสารรายงานประจำปีมิสซังสยามต่อศูนย์กลางมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีสเกี่ยวกับกลุ่มคริสตชนที่เพิ่งได้รวบรวมใหม่ก็คือที่บางขามนั่นเอง
ต่อมาในปี 1926 – 1929 คุณพ่อซีมอน (ฟิลิป) ศรีจันทร์ (เว้) ศรีประมงค์ ขณะนั้นดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส “วัดพระนามกรเยซู บ้านแป้ง” (ห่างจากวัดนักบุญลูกา บางขาม ประมาณ 35 กิโลเมตร) คุณพ่อเห็นว่าสัตบุรุษจากวัดบ้านแป้ง ได้มาทำมาหากินที่ลำน้ำบางขามเป็นจำนวนมากพอสมควร บ้างก็ตั้งรกรากอยู่ที่นี่แล้วจึงเป็นการยากที่จะอภิบาลสัตบุรุษ อีกทั้งการเดินทางสมัยก่อนนั้นก็ลำบากมาก ต้องใช้เรือ คุณพ่อจึงปรึกษากับสัตบุรุษที่มาตั้งรกรากอยู่ก่อนแล้วว่า สมควรจะมีวัด เพื่อเป็นศูนย์รวมจิตใจ และประกอบพิธีกรรมทางศาสนา จึงได้ติดต่อกับสัตบุรุษในเวลานั้น และได้รับบริจาคที่ดิน จำนวน 70 ไร่ จากหลวงพิทักษ์ ราชกิจ (นายนัง ราชกิจ) ซึ่งเป็นพี่ชายของคุณพ่อยออากิม การก่อสร้างในสมันนั้นยากลำบากมากเนื่องจากการคมนาคมไม่สะดวกเหมือนในปัจจุบันนี้ แต่ด้วยความอุตสาหะ ความอดทนต่างๆ และได้รับความร่วมมือจากสัตบุรุษ การสร้างวัดจึงสำเร็จแล้วเสร็จไปด้วยความเรียบร้อย ทำพิธีเสก และเปิดเมื่อ ปี ค.ศ.1927 โดย พระสังฆราช เรอเน แปร์รอส เมื่อสร้างวัดบางขามแล้วยังไม่มีพระสงฆ์ ประจำอยู่ ยังต้องขึ้นอยู่กับวัดบ้านแป้ง ในระหว่างปี 1926 – 1943 นั้นวัดนักบุญลูกา บางขาม อยู่ในความปกครองของวัดบ้านแป้ง เจ้าอาวาสวัดบ้านแป้งมีหน้าที่ในการมาดูแลวัดและทำมิสซาที่วัดบางขามด้วย
รายชื่อพระสงฆ์ ที่เป็นเจ้าอาวาสวัดพระนามกรเยซู บ้านแป้ง และมาดูแลวัดนักบุญลูกา
บางขาม ด้วย
1. 1926 – 1929 คุณพ่อซีมอน (ฟิลิป) ศรีจันทร์ ศรีประมงค์ สร้างวัดหลังแรก
2. 1928 – 1929 คุณพ่อเกลเมเต แฉล้ม พานิชเกษม
3. 1929 – 1931 คุณพ่อเฮนรี่ (อเล็กซานเดอร์) สุนทร วิเศษรัตน์
4. 1932 – 1934 คุณพ่อแบร์นาร์ด มนัส บุญคั้นผล
5. 1935 – 1939 คุณพ่อวินเซนเต (เปโตร) วรงค์ สุขพัฒน์
6. 1939 – 1945 คุณพ่อเทโอฟัน หลง มีเฟื่องศาสตร์
ต่อมา ในปี 1943 – 1946 คุณพ่ออัมโบซิโอ(เปโตร) กิ๊น มิลลุกุล
ได้รับแต่งตั้ง เป็นเจ้าอาวาสองค์แรก ของวัดบางขาม โดยไม่ขึ้นกับวัดบ้านแป้งอีกต่อไป คุณพ่อได้สร้างบ้านพักพระสงฆ์ และบ้านพักซิสเตอร์
ปี 1946 -1954 คุณพ่อฟรังซิสเซเวียร์ (เรอเน) ทองดี
กฤษเจริญ ได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสต่อจากคุณพ่ออัมโบซิโอคุณพ่อได้มาดำเนินงานต่าง ๆ ต่อเป็นอันมาก นำความเจริญมาสู่วัดนักบุญลูกา จำนวนสัตบุรุษเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ คุณพ่อจึงคิดที่จะจัดตั้งโรงเรียนขึ้นเพื่อลูกหลานของเรา โดยใช้ชื่อโรงเรียนว่า “โรงเรียนพระวรสาร” แต่ยังไม่ทันเปิดคุณพ่อก็ย้ายไปเป็นผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดอัสสัมชัญ บางรัก เสียก่อน
ปี 1954 – 1960 คุณพ่อเรอเน มอรีส เมอนิเอร์ ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาส คุณพ่อได้เริ่มกิจการโรงเรียนอย่างจริงจัง โดยเปิดโรงเรียนตั้งแต่ชั้น ป.1 – ป.4 นอกจากนั้นคุณพ่อยังได้นำวิธีการทำเกษตรแผนใหม่มาริเริ่มและมาเป็นตัวอย่างในเขตวัด เช่น การทำสวน การปลูกพืชไร่ การเลี้ยงสุกรด้วยอาหารแห้ง การปั่นไฟฟ้าใช้ด้วยกังหันลม การสูบน้ำ เป็นต้นและในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 1957 ได้จัดงานฉลองวัดบางขามโอกาสครบรอบ 20 ปี ทางวัดจึงถือโอกาสนี้จัดฉลองหิรัญสมโภช บวชครบ 25 ปี ให้แก่คุณพ่อเมอนิเอร์
ด้วย ซึ่งในวันนั้นมีพระสงฆ์ เดินทางจากกรุงเทพ และทางเหนือ มาร่วม ฉลอง10 กว่าองค์ รวมทั้งคุณพ่อ โอลิเอร์ คุณพ่อตาปี คุณพ่อเปแรง และคุณพ่อเลออง
ปี 1960 – 1962 คุณพ่อปอล ยือแบง ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสที่วัดบ้านแป้งตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2496 แล้ว แต่เนื่องจากคุณพ่อเมอนิเอร์ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นรองประมุขมิสซัง
กรุงเทพ (อุปสังฆราช) แทนคุณพ่อแปรูดง คุณพ่อเมอนิเอร์ที่เป็น เจ้าอาวาสอยู่ที่วัดบ้านแป้ง จึงมาทำหน้าที่เจ้าอาวาสแทน ตั้งแต่วันที่ 11 พฤศจิกายน 2503 จนถึงวันที่ 21 มกราคม 2505 เป็นเวลา 2 ปี โดยมี พระสงฆ์หนุ่ม เป็นผู้ช่วยคือ คุณพ่อฮั่วเซี้ยง กิจบุญชู (ปัจจุบันคือ พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มิชัย กิจบุญชู) คุณพ่อทั้งสองได้ผลัดกันไปทำมิสซาวันอาทิตย์ ทั้งที่บ้านแป้ง และบางขามเป็นประจำ จนถึงวันที่ 21มกราคม 2505 คุณพ่อฮั่วเซี้ยง ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดบางขาม คุณพ่อยือแบง จึงทำหน้าที่เป็น เจ้าอาวาสวัดบ้านแป้ง
ปี 1962 – 1965 คุณพ่อฮั่วเซี้ยง กิจบุญชู (ปัจจุบันคือ
พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู) ได้รับแต่งตั้งให้เป็นเจ้าอาวาสวัดบางขาม อย่างเป็นทางการ พระคุณเจ้าได้วางรากฐานที่มั่นคงให้กับวัดมากมาย พระคุณเจ้าได้ก่อสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติม ได้เปิดชั้นเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และขอเพิ่ม ในปีต่อไป ปีละหนึ่งชั้นเรียน พระคุณเจ้าต้องอดทนต่อสู้กับความยากลำบากต่างๆ เพื่อจะได้วางรากฐานความเจริญทั้งทางร่างกายและจิตใจ ปรับปรุงหมู่บ้าน ถางป่าไผ่และระกำ ด้านหลังโรงเรียน เพื่อทำสนาม
ปี 1965 – 1968 คุณพ่อ โรแบร์ ปีโยต์ คุณพ่อมารับตำแหน่งแทน พระคาร์ดินัล ไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ซึ่งย้ายไปเป็น เจ้าอาวาสวัดกาลหว่าร์ คุณพ่อมองเห็นถึงความสำคัญด้านการศึกษา เช่นเดียวกับ พระคุณเจ้ามีชัย กิจบุญชู คุณพ่อได้สร้างอาคารเรียนเป็นตึก 2 ชั้น และขยายชั้นเรียนจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ได้สร้างบ้านพักซิสเตอร์หลังใหม่ คุณพ่อควบคุมการสอนด้วยตนเอง จนโรงเรียนพระวรสาร เป็นโรงเรียนที่เป็นที่ รู้จักกันทั่วในจังหวัดลพบุรี
มีเหตุการณ์สำคัญในช่วงนี้คือ วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 1967 พระสันตะปาปา ปอล ที่ 6 ทรงสถาปนา สังฆมณฑลนครสวรรค์ขึ้นและแต่งตั้ง พระสังฆราชมิเชล ลังเยร์ เป็นประมุข สังฆมณฑล แยกจากอัครสังฆมณฑลกรุงเทพ
ปี 1948 – 1989 คุณพ่ออังตวน เอมมานูแอล เดชังป์-แบร์แยร์ เป็นเจ้าอาวาส วัดนักบุญลูกา บางขาม คุณพ่อได้ดำเนินการต่าง ๆ ตลอดเวลาที่ยาวนานที่สุดคือ 12 ปี คุณพ่อได้จัดระบบหมู่บ้านใหม่ พัฒนาถนนหนทางในหมู่บ้านใหม่ ได้สร้างอาคารเรียนเป็นตึก 3 ชั้น พัฒนาสุสาน ได้นำความเจริญมาสู่หมู่บ้านเป็นอันมากในเวลาเดียวกันก็พยายามรวบรวมเงินสำหรับสร้างวัดหลังใหม่ มีเหตุการณ์สำคัญในช่วงนี้คือ พระสันตะปาปา เปาโล ที่ 6 ทรงแต่งตั้ง พระสังฆราช ยอแซฟ บรรจง อารีพรรค
ให้เป็นประมุขสังฆมณฑลนครสวรรค์
ปี 1980 –1984 คุณพ่อยอแซฟ ธวัช พันธุมจินดา เป็นพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ทางอัครสังฆมณฑลได้ส่งคุณพ่อมาช่วยงานสังฆมณฑลนครสวรรค์ คุณพ่อได้ขยายหอพักนักเรียนประจำ ปรับปรุงห้องอาหาร อาคารที่พักให้เหมาะสมกับจำนวนนักเรียน ตบแต่งภายในบ้านพักของซิสเตอร์ ได้สร้างโรงอาหารด้านหลังอาคารสองชั้น เพื่อเป็นห้องอาหารและที่จัดงานอเนกประสงค์ของโรงเรียน
คุณพ่อได้เห็นว่าสภาพวัดทรุดโทรมมาก ไม่สามารถที่จะบูรณะซ่อมแซมได้อีกต่อไปจึงได้ปรึกษาทางผู้ใหญ่ เห็นสมควรให้มีการจัดสร้างวัดใหม่ ปี 2526 ได้รื้อวัดหลังเก่าพร้อมกันนั้นได้ลงมือสร้างวัดหลังใหม่ แต่ต้องพบกับอุปสรรคคือ น้ำท่วมบริเวณที่ก่อสร้างเป็นเวลาประมาณ 3 เดือนทำให้การก่อสร้างหยุดชะงักล่าช้ากว่าที่กำหนดไว้ หลังจากนั้นการก่อสร้างก็สำเร็จสมบูรณ์
ปี 1984 – 1990 คุณพ่อยวง บัปติสตา บุญเสริม เนื่องพลี
เป็นพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพทางอัครสังฆมณฑลได้ส่งคุณพ่อมาช่วยงานสังฆมณฑลนครสวรรค์ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน คุณพ่อ ธวัช พันธุมจินดา คุณพ่อได้ปรับปรุงและพัฒนาอาคาร โรงเรียน หอพัก นักเรียนประจำให้สวยงาม น่าอยู่
ปี 1990 – 1994 คุณพ่ออันดรูว์ ศรีปราชญ์ ผิวเกลี้ยง เป็นพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ทางอัครสังฆมณฑลได้ส่งคุณพ่อมาช่วยงานสังฆมณฑลนครสวรรค์ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน คุณพ่อ บุญเสริม เนื่องพลี คุณพ่อได้ปรับปรุงและพัฒนาบริเวณรอบวัด โรงเรียน
และก่อสร้างหอพักชาย
ปี 1994 – 1999 คุณพ่ออเล็กซิส สุรชัย กิจสวัสดิ์
(ตั้งแต่ 1 พ.ค. 2537 – 2 พ.ค.2542 ) เป็นพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ทางอัครสังฆมณฑลได้ส่งคุณพ่อ มาช่วยงานสังฆมณฑลนครสวรรค์ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน คุณพ่อศรีปราชญ์ ผิวเกลี้ยง คุณพ่อได้ปรับปรุงและพัฒนาบริเวณรอบวัด และก่อสร้างตึกอนุบาล โดยใช้นามว่า อาคาร อเล็กซิสปี 2000 – 2002 คุณพ่อฟรังซิส เซเวียร์ เดชา อาภรณ์รัตน์ (ตั้งแต่ 1 พ.ค. – 5 พ.ค. 2545 ) เป็นพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ทางอัครสังฆมณฑลได้ส่งคุณพ่อมาช่วยงานสังฆมณฑลนครสวรรค์ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน คุณพ่อ สุรชัย กิจสวัสดิ์ คุณพ่อได้ปรับปรุงและพัฒนาบริเวณรอบวัดและโรงเรียนก่อสร้างบ้านพักพระสงฆ์บ้านพักคนงานและปรับปรุงต่อเติมโรงอาหาร
ปี 2002 – 2007 คุณพ่อฟิโลมิโนสุระพงษ์ ไม้มงคล
เป็นพระสงฆ์อัครสังฆมณฑลกรุงเทพ ทางอัครสังฆมณฑลได้ส่งคุณพ่อมาช่วยงานสังฆมณฑลนครสวรรค์ ได้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสแทน คุณพ่อเดชา อาภรณ์รัตน์ คุณพ่อได้ก่อสร้างอนุสาวรีย์นักบุญลูกา ปรับปรุงสุสาน และอาคารอเนกประสงค์ซึ่งอยู่ติดกับสุสานโดยให้ชื่อว่า ศาลายอแซฟก่อสร้างบ้านพักซิสเตอร์ ปรับปรุงและพัฒนาบริเวณภายในวัด และจัดสวนหย่อมบริเวณรอบๆวัดให้ดูร่มรื่น สวยงาม
ปี 2007 – ปัจจุบัน คพ.มีคาแอล พิทักษ์ ศิลาโคตร
สัตบุรุษวัด อัครเทวดาคาเบรียล สันติสุข เพชรบูรณ์
บรรพชา6 มกราคม 1991 เข้าทำงานที่วัดนักบุญลูกาบางขาม เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2550 (2007) เป็นพระสงฆ์พื้นเมืองซึ่งสังกัดสังฆมณฑลนครสวรรค์องค์แรกที่เป็นเจ้าอาวาสวัดนักบุญลูกา บางขาม
ขอบคุณข้อมูลบางส่วน ที่  http://historyindiary.blogspot.com/2010/10/blog-post_17.html

กังหันลมปั่นไฟ

พลังงานลมมีมากไม่มีวันหมดก็ว่าได้ ผมคิดที่จะพัฒนามัน วันนี้ผมได้ทำกังหันลมเสร็จวันที่ 22/5/2558 ผมดีใจกับมันมากมันเป็นผลงานที่พอใจเรื่องราวการสรา้งอยู่ในวีดีโอนี้ ผมยินดีกับมันมากพร้อมจะบอกเรื่องราวของมันด้วยวันข้างหน้าถ้ามีสภาวะสงคราม สถาวะแผนดินไหวน้ำท่วมอุทกภัยหรือภัยต่างๆหวังว่ามันคงใช้ประโยชน์ได้บ้างครับ

P_20150521_131020_HDR

นี่คือเศษวัสดุเหลือใช้ที่เขาทิ้งแล้วมันอยู่ในเครื่องซักผ้าหรือมอเตอรืเครื่องซักผ้าผมเอามาทำเจ็นเนอร์เรเตอร์หรือเครื่องปั่นไฟซึงผมก็มีความรู้ไม่มากได้ศึกษาจากเน็ตและกลุ่นคนอื่นๆที่ทำกัน

P_20150522_122411_HDR

ใบพัดผมทำจากเศษผ้าไวนิ่วใช่กาวทาเพื่อทดลอง

P_20150522_094259_HDR

แพนหางก็เช่นกัน ผมก็ใช้เศาผ้าไวนิ่วและใช้กาวทา

P_20150522_123821_HDR

ผมทดลองโดยใช้เสาสูงหกเมตร ใบพัดไดมิเตอร์สี่เมตร ข้างละสองเมตรตามรูป

P_20150522_130526_HDR

ผลออกมาเป็นที่พอใจเวิคและเอาไปใช้งานจริงได้ขั้นตอนการทำผมทำเป็นไฟร์วีดีโอแนบมาด้านล้างนี้

 

 https://plus.google.com/u/0/photos/105836167887487364683/albums/6151655465288285633

รูปงานสรา้งเรื่องราวต่างๆผมเก็บไว้ที่ลิ้งค์ด้านบน

https://photos.google.com/u/0/album/AF1QipOUqPfkNUOpy967BeyciNh4mfeE7pUKNWz_4b4m

https://www.facebook.com/groups/perpetual.thai/1783176938561246/?notif_t=like

 

เปลี่ยนใบหลังจากผ่านมาหนึ่งปี

เจอภายุหลายรอบทนไดพ้ แต่เราใช้ไวนิ่วถึงเวลาเปลี่ยนใหม่ ผ่านไปหนึ่งปี คุ้มครับ

ใบเหล็กดีมากครับ ทนรอบจัดครับ

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10153641825637494/

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10153644102362494/

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10153645959297494/

ซ่อมใบครั้งทีั่หนึ่งครับเจอพายุแต่ก็โอเคนะคุ้ม

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10153706941212494/

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10153868844952494/

อันนี้สู้พายุครับ

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10153931289967494/

อันนนนี้ทดสอบมาหลายเดือนแล้ว

ทดสอบโดยการหอ้ยกับเครนครับ

ดร.อี๊ดกับหลวงพี่มา ชช่วยครับ

ได้ไฟใช้แล้วครับ

https://youtu.be/61IwPr0ub_I

https://youtu.be/nBqK1nXDzpM

 

https://www.facebook.com/dangserv/videos/10154331742887494/

 

 

ตระกูลสยามสืบค้นตั้งแต่จันทบุรียายมาวัดบ้านแป้งและมาวัดบางขามมาลพบุรี

เอกสารสำคัญแหล่งที่มา ตระกูลสยาม ได้ย้ายมาจากจันทบุรี เชื้อสายทางปู่ทวด วี กายเพร็ช  ย่าทวดพริ้ง กายเพร็ช (นามสกุลเดิมกลุ่มอนามวัต อนามพง) คนไทยเชื้อสายเวียดนาม และย้ายถิ่นฐานตามบาทหลวงคุณพ่อซีมอนมาวัดบ้านแป้งและ ขยายมา วัดบางขาม ตาวี ตาบุญ ตาพัก ย้ายมาที่บางลี่ และ หนองเลา จ.ลพบุรี ตามลิ้งด้านล่างนี้ ประวัติ ย่าใจ เคยสวด ภาษายวนเคยได้ยิน วัดบางขามที่ย่าไปหาเพื่่อนพี่น้องก็ไปสวดที่นั้น อีกทั้งหลักฐานที่ด้านล่างนี้ การทำเสื้อกก ที่มีแต่กลุ่มชนชาวไทยเชื้อสายเวียตนามกลุ่มคนชาวคริตทำ

http://www.cathedralchan.or.th/hist_new.pdf

วีดีโอบางส่วนของวัดบ้านแป้ง ย่าทวดผม ยายพริ้ง ฝังที่นั้น ส่วนปู่ทวดตาวีมาเปลี่ยนนามสกุลไหม่เป็นกายเพร็ช ที่บางมายม บางลี่ ตาวี ตา บุญ ตาพัก

คือกลุ่มคนรุ่นหลังๆที่จำได้สืบได้

ติดตามผมที่ชองยูทรูปด้านล่างนี้ คลิกเลยครับ กดติดตาม กดสั่นกระดิ่งด้วยครับ

https://www.youtube.com/channel/UCtpfEgERY7iAdS9cBYSORWQ

ผมกำลังรวบรวมญาติทางวัดบ้านแป้งอยู่ครับ รุ่นชวด ตาวี ยายพริ้ง ยายพริ้งตาย ตาวีมาได้ยายเปลี่ยน ฝั่งตรงข้ามวัด หรือที่เรียกว่าบ้านใต้

แบนเนอร์ตระกูลสยาม

เรื่องราวโดยย่อ ตระกูลสยาม สืบค้น สายชวดปู่ชวดย่า  ส่วนชวดตาชวดยายนั้นเป็นคนเขาสมอคอน และตระกูลลพบุรี..สมัยพระนารายนามสกุลเทศวงศ์ เครือญาติจะอยู่ที่เขาสมอคอนสมัยที่ที่จำได้หลวงพ่อมี…..และดอยธรรมมิกราช สมัยกอ่นโนน พระนาราย พ่อขุนผาเมือง พ่อขุนงำเมือง และพ่อขุนรามคำแหงไปเรียนที่นั่น….จนประดิฐอักษรไทย คือมหาวิทยาลัยแห่งราชะ คือพระราชาจะไปเรียนที่นั่น และที่นั้นคือต้นกำเหนิดตระกูลสยาม สาย ชวดตาชวดยาย แต่ผมสือบค้นสาย ชวดปู่ชวดย่ากอน มันเยอะมาก ญาติผมเยอะมาก …..และทุกคนก็คงเหมือนผม….ถ้าไลไปตระกูลแต่ละคนคงไม่ต่างกัน…เรื่องรายบ้านผมบางส่วนขอมูลจาก  http://www.m-culture.in.th/moc_new/album/169479/%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99/จากประวัติที่สืบค้นได้ ตาวีกายเพร็ขเป็นคนพื้นเพจันทร์บุรี นับถือศาสนาคริต ได้เดินทางติดตามบาทหลวง คุณพ่อซีมอนมาที่วัดบ้านแป้ง สิงบุรี เดิม นาม สกุญอนามวัตร หรือ อนามพง บ้านเดิมอยู่แถวโบถวัสคริสที่จันทร์บุรี ได้ย้ายมาอยู่วัดบ้านแป้งสิงบุรี และได้ย้ายมาอยู่บางขามลพบุรีและ ย้ายมาอยู่ที่ ท่าวุ้ง ลพบุรี มีอาชีพหาปลา และได้เป็นนายอากรหนองน้ำหมู่บ้านคุณ ฉลอง (นายอากรหนองน้ำคือได้รับสัมปะทานหาปลาที่หนองน้ำนั้น เรียกว่านายอากรหนองน้ำ ตาวีแต่งงานกับยายพริ้ง และมีลูกสาวชื่อ ย่าใจ เครือคูณ ต่อมายายพริ้งได้เสียชีวิตลง ตาวีก้มาแต่งงานกับ ยายเปลี่ยน บ้า่นอยู่หน้าวัดบ้านแป้ง (หน้าวัดบ้านแป้งเป็นคลองแม่น้ำ) และได้อย้ายมาอยู่หมู่บ้าน คุณฉลอง หนองน้ำแห่งนั้น ได้มีลูกสาวและลูกชาย รวมเจ็ดคน แปดคน รวมทั้งย่าใจ ต่างมารดา ย่าใจได้แต่งงานกับปุ่ทรเป็นคน ศรีศะเกศ นามสกุลเดิม เชื้อพันธุ์ ปู่ทรมาทำงานเป็นลูกจ้างตาวี และต่อมาตาวียกลูกสาวให้ ปุ่ทรกับย่าใจมีลูก สี่คน คือพ่อแกละเครือคูณ อาขอม ฉิมมาลี อาเอียง วิเชียร เครือคูณ  อาหนับ วิชัย เครือคู นายเกละเครือคูณ ได้แต่งงานกับ แม่มะลิ หญิงสาว ชาวเขา สมอคอน บุรของ ยาย ขีด นายเอียง บ้านอยู่ตีนบันไดวัดเขาสมอคอนบริเวณ สระน้ำ นามสกุล เทศวงษ์ แม่มะลิและ นายแกละมีบุตรและธิดารวม  แปดคน คนโตคือ นางอุไรเครือคูณ (พี่แจ้ว) คนรอง นางอุรา เครือคูณ (พี่ปอ้ม) ต่อมา นาย อรุร เครือคูณ (พี่ปื๊ด) นางสาวบุญรวม เครือคูณ (พี่เตี้ย) นางนพรัตน์ เครือคูณ พี่หวาน นางวิรัชรา เครือคูณ (พี่นกเล็ก) นาย ธเนศ เครือคูณ (แดง) นาย พัวหลง เครือคูณ (หลง) ครอบครัวสาย ย่าใจ ต่อมาครอบครัวคนที่สอง ย่าทูย่าทู เป็นลูกคนโตของตาวี ยายเปลี่ยน แต่งงานกับตาจันทร์ ขันทอง กลายมาเป็นขันทอง ยาย ทูมีบุตรและธิดาราวเจ็ดคน คือ อาหนอง อาหนองแต่งงานกับอาพีเป็นคนโคกกระเทียม กลายมาเป็นพราวพันธุ์  มีลูก นายจอช พราวพันธุ์ นายหน่อง พราวพันธุ๋ นายใบ้ พราวพันธุ์ นางออ้น พราวพันธุ์ นางเ๋ พราวพันธุ์ ลูกนางสนองกับนายพีจากการติดตามได้ทราบว่า นายจอชอยู่แถวพนัสเปิดอู่ซ่อมรถใหญ่ มีภรรยา…นายหน่องอยู่แถวระยอง นางออ้น อยู่แถว รพ.ระยอง นางเอ่ อยู่พัทยา นายใบ้อยู่แถวบางนา ต่อมานายแฟ้ม นายแฟ้มแต่งงานกับนาง เฉลา มีบุตรและธิดาราว 5 คน พี่หนู พี่ขวัญ พี่นิ่ม  พี่เช่พี่เอี้ยง ต่อมาอาเฟี้ยม อาเฟี้ยมมีลูกสามคน แต่งงานกับอามวน คนบ้านช้างชะลุ  อาหน่อย อากบ อาโก๊ะ  ต่อมาอาเยาว์ อาเยาว์ไม่ได้แต่งงานเสียชีวิตแล้ว  ต่อมา อานง อานงยังไม่ได้แต่งงาน  ต่อมา อาเนียร อาเนียร มีลูกสามคน แต่งงานกับอาอ้วน ต่อมาอาจชาญ อาชาญ แต่งงานกับอาจุก มีลูกชายสามคน อาจุกเป็นคนแหลมศักดิ์  ต่อมาย่าแว่ว มีบุตรและธิดารวม  อาสิทธิ์ อาแหว่ว  อาควง อาเบิ้ม อาเอียด อาวน อาวาล อา เสริม อยู่บ้านใผ่วง ต่อมาปู่กวัก ปู่กวักมีมีลูกสาวสองคน อยู่กาญจบุรี หายสาปสูญ ไม่ได้ติดต่อ ต่อมาย่าคำ ย่าคำแต่งงานกับปู่ผล บ้านท้ายน้ำ สามัยก่อนน่าจะเป็นชาวมอญ สมัยนั้น มีบุตรและธิดาราว 7คน คืออาโค้ อากลม อากบ อาชิต อานา อามารี อาแหลม(คือเสียงแหลม) บ้านอยู่ท้ายน้ำ ลูกตาวีคนต่อมาคือปุ่ลอง ปู่ลองได้กับย่าเล็ก  มีบุตรและธิดราว 6 คน คือ อายง แต่งงานกับอาม่อม อายังแต่งงานกับอาเหวียง คนบางลี่ อาแก่ แต่งงานกับคนหนองระแหง อาโหนก เสียชีวิตแล้ว แต่งงานกับคนโคกกระเทียม เมื่อภรรยาเสียชีวิตก็มาแต่งงานกับอาเหว่าลูกลุงยูร อาขาวแต่งงานกับสาวบางโพ อารัตน์แต่งงานกับหนุ่มหนองมนลูกตาวีคนต่อมา คือย่าริด แต่งงานกับปู่ถวิล กลา่ยมาเป็น เสมอใจ มีบุตรและธิดาสองคน คือหนุ่ยและเป้า เป้า คือวันเพ็ญ เสมอใจ ต่อมาปู่ถวิลได้ภรรยาใหม่อีกคนลูกตาวีคนต่อมาย่าดำ ย่าดำแต่งงานกับปู่ไล วงเพิก คนโคกกระเทียม สมัยกอ่นบ้านคุณฉลองน้ำจะท่วม ตาวีจะเอาวัวควายไปฝากโคกกระเทียมไว้ ย่าดำเลยเจอกับปู่ไลกลายมาเป็นวงษ์เพิก ย่าดำมีลูกสาวคนเดียวคืออาติ๋ม อาติ๋มแต่งงานกับอาแกละคนท้ายน้ำ นามสกุลเล็กวงษ์ กลายมาเป็นเล็กวงษ์https://www.youtube.com/watch?v=Fn-okdWaZnkhttps://www.youtube.com/watch?v=IaiIdersqAIสัมภาษ นายวิเชียรเครือคูณ ถึงเรื่องราวเก่าๆของตระกูลเนื่องจากเป็นตระกูลใหญ่ตั้งแต่บรรพบุรุษ เท่าที่สืบค้นได้ สมัยละโว้หรือลพบุรีตาวีมีญาติพ่น้องหลายคนเท่าที่จำได้คือ ตาบุญต่พักและตาวี เป็นคนมั่งคั่งฃด้วนที่นาทรัพย์สินและร้ำรวยในตำบลนั้น ตาบุญกับตาวีเป็นพี่น้องกัน ตาบุญก็เป็นกลุ่มย่าฟอ้ยตายูร ย่าฟอ้ยแต่งงานกับตาถวิล สมัยกอ่นโน้น ย่าฟอ้ยจะมีโรงสีและไร่น่าจำนวนมาก ซึ่งครองที่นาในลพบุรี ตาบุญเป็นพี่น้องกับตาวี ครั้งหนึ่งโจรรู้ว่าบ้านตาวีมีทรัพย์สินจำนวนมาได้เข้ามาปร้นบ้านตาวี กายเพร็ช ณตำบลนั้นhttps://www.youtube.com/watch?v=IaiIdersqAI สัมภาษ นาย วิเชียร เครือคูณถึงงตระกูลสยาม ต้นกำเหนิดกายเพร็ชตาวีกายเพร็ชจะกล่าวถึงลูกตาวีคนโตกับยายพริ้งคือย่าใจ ย่าใจแต่งงานกับ ปู่ทร ออกมาเป็น พ่่อแกละ อาของอาเอียงและอาหนับ

รูปตาวียายเปลี่ยนส่วนรูปยายพริ้งหาไม่เจอ

 รูปย่าใจ     ปู่ทร เครือคูณ (เดิมเชื้อพันธุ์)ปู่ทร ย่าใจมุีบุตรและธิดาสี่คน

พ่อแกละ อาของ อาเอียงและอาหนับ หลานตาวี ลูกย่าใจปู่ทร ซึ่งย่าใจปู่ทร ขอกล่าวถึงพ่อแกละ นายแกละ เครือคูณ แต่งงานกับนางมะลิเทศวงษ์ ต่อมาเปลี่ยนเป็นเครือคูณ

พ่อแกละและแม่มะลิ มีบุตรและธิดารวมแปดคน คือ พี่แจ้ว อุไรเครือคูณ พี่ปอ้ม อุราเครือคูณ พี่ปื๊ด อะรุณ เครือคูณ พี่เตี้ย บุญรวม เครือคูณ พี่หวาน นพรัตน์ เครือคูณ พี่นกเล็ก วิรัชรา เครือคูณ แดง นาย ธเนศ เครือคูณ หลง บัวหลง เครือคูณ

ลูกพ่อแกละแม่มะลิรวมแปดคน พี่แจ้ว อุไรเครือคูณ อยู่ กทม .แต่งงานกับวิชาญ ปานน้อย มีบุตร สองคน พี่ปอ้ม แต่งงานกับพี่ชัยมีบุตร 1คนแต่งงานกับพี่โอ่ มีบุตร 1คน แต่งงานกับพี่เสร็ฐ มีบุตร 1คน  ปื๊ด อรุร เครือคู๔ณ แต่ง งานกับ ลำพึงแก้วบุญทอง มีบุตรธีดา3คน โป้ง ปลา เบีย อยู่ที่เขาเขียว ประกอบอาชีพ รถยกรถสไลด์  บุญรสม เครือคูณ ยังไม่ได้แต่งงาน อยู่กับแม่มะลิ หวาน ใจ เครือคูณ แต่งงานกับอาวิง อึ้งซัมวิง เป็นคนชาวฮอ่งกง มีบุตรและธิดาสองคน คือฟัดใจและฉอ่ยหลุย อยู่พัทยา อาวิงมีถรรยาใหม่ อยู่ กทม หวานใจได้เสียชีวิตด้่วยอุบัติเหตุ ศพอยู่ที่สุสานพัทยา

พี่นกเล็ก แต่งงานกับพ่อเอิทคนอังกฤษ มีลูกชายคนเดียว เอิทแดง แต่งงานกับกรรณิการ์ ฉิมพาลี มีลูกสาวสองคน เมียมและอะตอม ธีรกมล เครือคูณ ธนาอร เครือคูณและคนสุดทอ้ง หลง บัวหลง เครือคูณหลงแต่งงานกับเต็ส คนบ้านบึงมีลูกสาวหนึ่งคน ต่อมาได้แต่งงานใหม่กับตุกตายังไม่มีบุตร

 พี่แจ้ว  ลูกคนโต ของนายแกละนางมะลิ ลูกย่าใจ และเหลนตาวีแต่งงานกับ นายวิชาญปานน้อย กทม  มีบุตรและธิดาสองคน เอ์มกับแอม

เอ้มกับแอม เอ็มขับรถยกที่พัทยา แอมอยู่ กทม.

 คตรอบครัวปานน้อยพี่แจ้สและพี่ชาญ

พี่ปอ้ม อุรา เครือคูณ มี่บุตรและธิดาสามคน นุ่น เปิล และขุนแผน

ต่อมาพี่ปืด

  นาย อรุณ เครือคูณ แต่งงานกับนางลำพึงแก้วบุญทอง มฃีบุตรและธิดาสามคน โป้ง ปลา เบีย

                        โป้งปลาและเบีย เป็นบุตร นายอรุร เครือคูณ ประกอบธุรกิจอยู่ที่เขาเขียว ชลบุรี

บุญรวม เครือคูณ พี่เตี้ย อยู่กับแม่ที่พัทยา

หวานใจเครือคูณ แต่งงานกับอาวิงชาว ฮองกงมีบุตรสองคน หลุยและใจ๋

หลุยกับใจ๋ เป้นบุตรของ นางหวานใจ เครือคูณ และอาวิง

หลุยแต่งงานกับ จักร์ พักอยู่ที่พัทยา

ใจทำงานอยู่สนามยิงปืนพัทยา

พี่เล็ก วัชรา เครือคูณ แต่งงานกับแฟน ชาวอังกฤษ

เอิทหลาน

 นาย เธเนศ เครือคูณ แต่งงานกับ นาง กรรณิการ์ ฉิมพาลีมีบุตร สองคน ธีรกมล เครือคูณ และธนาอร เครือคูณ

อะตอมและเมียม ลูกสาวทั้งสองของแดงและเล็ก

หลง แต่งงานกับตุกตาหลงมีลูกสาวหนึ่งคนกับเต๋าแฟนเก่าย้อนกลับไป ตาวี นี่แค่ออกมาสายย่าใจ กับปู่ทร พี่ลูกคนโตของย่าใจ ออกลูกออกหลานมาจำนวนมาก ลูกคนที่สองของย่าใจ คืออาขอม

อาขอม และอาเติม อาขอมลูกย่าใจ แต่งงานกับอาเติมคนหนองเลา กลายมาเป็นฉิมพมาลี มีบุตรและธีดา รวม7คน พี่เหลน พี่โธนี่ พี่อ้วน พี่โก ปัญญา เรณู ปราณี

พี่เหลน อยู่พัทยาแต่งงานกับพี่เกรียง พี่โทนี่อยู่ระยอง พี่อ้วนทำไร่อยู่โคกสำโรง พี่โก เป็นหมออยู่ขอนแก่น ปัญญาอยู่กรุงเทพ เรณูอยู่พัทยา ปราณีอยู่พัทยา

https://www.youtube.com/embed/BEHz8P7O52I?feature=player_embedded  อาเติมไ้ด้เสียชีวิต ฝังอยู่ที่สุสานวัดทุ่งสิงโต

อาเอียง นายวิเชียร เครือคูณ แต่งงานกับอาเพ็ญ คนหนองเลาอาหนับ

อาหนับ นาย วิชัย เครือคูณ แต่งงานกับอาบุญคนบางลี่ สมงาม มีบุครและธิดารวมสี่คน เดี่ยว ตาล ปูเจ็ก https://www.trakulsiam.com/?p=557

เดี่ยว ตาล ปุ เจ็ก

เดี่ยว แต่งงานกับนา มีบุตร 1คน และมีบุตรกับออ้มอีกสองคน รวมเป็น สามคน

ตาลข้างต้นนี้ คือสายตาวี ยายพริ้ง ออกลูกมาเป็นย่าใจ ปู่ทรต่อมาตาวี ยายเปลี่ยน ออกมาเป็นย่าทู  ย่าแหวว ปู่กวัก  ย่าคำ ปุ่ลอง ย่าริด ย่าดำ ย่าทู แต่งงานกับตาจันทร์ กลายมาเป็นขันทอง ย่าแหว่วแต่งงานกับปู่หว่าง กลายมาเป็นเหมือนเมือง ปู่กวัก แต่งงานกับสาววัดหมู ย่าคำแต่งงานกับปู่ผลคนท้ายน้ำ กลายมาเป็นจันทร์หอม  ปู่ลอง แต่งงานกับย่าเล็ก ก๋ยังคงกายเพร็ชไว้เพราะเป็นลูกชาย ย่าริดแต่งงานกับปู่ถวิล กลายมาเป็น เสมอใจ และย่าดำ แต่งงานกับปุ่ไล กลายมาเป็นวงเพิก ตาวีมีวัวควายจำนวนมาก เมื่อน่าน้ำจะเอาควายและวัวไปฝสกไว้ที่โคกกระเทียม เลยเจอกับปู่ไล

  ย่าทู กับปู่จันทร์ย่าทู เป็นลูกคนโตของตาวี ยายเปลี่ยน แต่งงานกับตาจันทร์ ขันทอง กลายมาเป็นขันทอง ยาย ทูมีบุตรและธิดาราวเจ็ดคน คือ อาหนอง อาหนองแต่งงานกับอาพีเป็นคนโคกกระเทียม กลายมาเป็นพราวพันธุ์  มีลูก นายจอช พราวพันธุ์ นายหน่อง พราวพันธุ๋ นายใบ้ พราวพันธุ์ นางออ้น พราวพันธุ์ นางเ๋ พราวพันธุ์ ลูกนางสนองกับนายพีจากการติดตามได้ทราบว่า นายจอชอยู่แถวพนัสเปิดอู่ซ่อมรถใหญ่ มีภรรยา…นายหน่องอยู่แถวระยอง นางออ้น อยู่แถว รพ.ระยอง นางเอ่ อยู่พัทยา นายใบ้อยู่แถวบางนา

ยังขาดรูปอาหนอง กับอาพี

  อาหนอง  กับอาพีอาหนอง อาหนองแต่งงานกับอาพีเป็นคนโคกกระเทียม กลายมาเป็นพราวพันธุ์  มีลูก นายจอช พราวพันธุ์ นายหน่อง พราวพันธุ๋ นายใบ้ พราวพันธุ์ นางออ้น พราวพันธุ์ นางเ๋ พราวพันธุ์ ลูกนางสนองกับนายพีจากการติดตามได้ทราบว่า นายจอชอยู่แถวพนัสเปิดอู่ซ่อมรถใหญ่ มีภรรยา…นายหน่องอยู่แถวระยอง นางออ้น อยู่แถว รพ.ระยอง นางเอ่ อยู่พัทยา นายใบ้อยู่แถวบางนา

    จอช      หน่อง (สใศักดิ์ พราวพันธุ์

 ใบ้ บุญเลิศ พราวพันธุ์)       ออ้น

เอ๋(คมคาย พราวพันธุ์)ต่อมานายแฟ้ม นายแฟ้มแต่งงานกับนาง เฉลา มีบุตรและธิดาราว 5 คน พี่หนู พี่ขวัญ พี่นิ่ม  พี่เช่พี่เอี้ยง

ตาแฟ้ม  ขันทอง ยายเหลา ขันทอง

พี่หนู                                               พี่ขวัญ
 
พี่นิ่ม พี่เช่

พี่เอี้ยงต่อมาอาเฟี้ยม อาเฟี้ยมมีลูกสามคน แต่งงานกับอามวน คนบ้านช้างชะลุ  อาหน่อย อากบ อาโก๊ะ  ต่อมาอาเยาว์ อาเยาว์ไม่ได้

อาเฟี้ยม   อามวลบ้านช้างทะลุหลานตาวีกายเพร็ชลูกยายทู ตาจันทร์

อาหน่อย อากบ

อาโก๊ะต่อมาอาเยาว์ อาเยาว์ไม่ได้แต่งงานเสียชีวิตแล้ว

 อาเยาว์ ไม่ได้แต่งงาน เสียชีวิตแล้วต่อมา อานง อานงยังไม่ได้แต่งงาน

 อาเนียร อาเนียร มีลูกสามคน แต่งงานกับอาอ้วน

 อาเนียร กับอาอ้วน มีบุตรสองโคน โก๊ะ และน้องสาวอีกหนึ่งคนต่อมาอาจชาญ อาชาญ แต่งงานกับอาจุก มีลูกชายสามคน อาจุกเป็นคนแหลมศักดิ์

 อาชาญ     อาจุก อาจุกเป็นคนแหลมศัก แต่งงานกับอาชานมีลูกชาย สามคน

  ลูกอาชานสามคนต่อมาย่าแว่ว มีบุตรและธิดารวม  อาสิทธิ์ อาแหว่ว  อาควง อาเบิ้ม อาเอียด อาวน อาวาล อา เสริม


ย่าแหว่ว กับปู่หว่าง

อาสิท       อาแว่ว

 อาควง     อาเบิ้ม

 
อาเอียด   อาวน

 
อาวน       อาเสริม
กลุ่มนี้หลานตาวี กลายมาเป็นเหมือนเมือง
บ้านอยู่ไผ่วง

อมาปู่กวัก ปู่กวักมีมีลูกสาวสองคน อยู่กาญจบุรี หายสาปสูญ ไม่ได้ติดต่อ

 
ปู่กวัก     ภรรยา
 
มีลูกสาวสองคน อยู่แถวกาญจบุรีต่อมาย่าคำ ย่าคำแต่งงานกับปู่ผล บ้านท้ายน้ำ สามัยก่อนน่าจะเป็นชาวมอญ สมัยนั้น มีบุตรและธิดาราว 7คน คืออาโค้ อากลม อากบ อาชิต อานา อามารี อาแหลม(คือเสียงแหลม) บ้านอยู่ท้ายน้ำ

ปู่ผล
ย่าตำ

     ย่าคำ  ปู่ผล

 อาโคว อากลม

  อากบ อาชิต

อานา อามารี

 อาแหลมลูกตาวีคนต่อมาคือปุ่ลอง ปู่ลองได้กับย่าเล็ก  มีบุตรและธิดราว 6 คน คือ อายง แต่งงานกับอาม่อม อายังแต่งงานกับอาเหวียง คนบางลี่ อาแก่ แต่งงานกับคนหนองระแหง อาโหนก เสียชีวิตแล้ว แต่งงานกับคนโคกกระเทียม เมื่อภรรยาเสียชีวิตก็มาแต่งงานกับอาเหว่าลูกลุงยูร อาขาวแต่งงานกับสาวบางโพ อารัตน์แต่งงานกับหนุ่มหนองมน

 ปู่ลอง                                       ย่าเล็ก

 อายง     อายัง

 อาแก่     อาโหนก

 อาขาว     อารัตน์หลุ่มลูกหลานปุ้ลองแต่งงานมีครอบครัวต้องหารูปเพิมเติมคือย่าริด แต่งงานกับปู่ถวิล กลา่ยมาเป็น เสมอใจ มีบุตรและธิดาสองคน คือหนุ่ยและเป้า เป้า คือวันเพ็ญ เสมอใจ ต่อมาปู่ถวิลได้ภรรยาใหม่อีกคน

รถพ่นไฟ

รถพ่นไฟ 086-3050805

รถพ่นไฟเรื่องราวมากมาย

ทำเพื่อทดลองครับ ผู้ที่ทำต้องมีความรอบรู้นะครับ 086-3050805  LINE ของแดงอันนี้อันเดียว

ถ้าสนใจแอดไลมาครับ

Open chat
Hello
Can we help you?
สายด่วนโทรเลยครับ